รายละเอียด: “การพัฒนาบุคลากรด้านสินเชื่อ Forensic Audit Program” รุ่นที่ 1
วัตถุประสงค์
*ให้ความรู้ภาคทฤษฏีและปฏิบัติ เกี่ยวกับการแต่งงบการเงิน และผลกระทบที่มีต่อการให้สินเชื่อของธนาคาร และเทคนิคต่างๆที่นำมาใช้ในการจับเท็จในการแต่งบัญชีของผู้กู้รวมถึงการตรวจสอบด้วยเทคนิคและกระบวนการของ Forensic Accounting & Forensic Audit เพื่อช่วยป้องกันความเสียหายจากการให้สินเชื่อของธนาคาร
*พัฒนาทักษะของผู้เข้ารับการอบรม ให้สามารถนำเอาความรู้จากการเรียนรู้ในห้องเรียน ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
*เรียนรู้เกี่ยวกับพัฒนาการในการตรวจสอบสินเชื่อ และการทุจริต จากกรณีศึกษาใน และต่างประเทศ เพื่อช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรม มีมุมมองหลากหลาย เพื่อยกระดับมาตรฐานการทำงานให้ดีขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงในการให้สินเชื่อของธนาคาร รวมถึงการเข้าแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่จะนำความเสียหายมาสู่ธนาคารได้
รูปแบบการอบรม
*การบรรยายในห้องเรียนโดยคณาจารย์ด้านสินเชื่อที่มีประสบการณ์
*มีการยกกรณีตัวอย่างจากของจริงทั้งในและจากต่างประเทศกรณีศึกษา และ Workshop
*การจัดทำกรณีศึกษาแยกตามกลุ่มการนำเสนอผลงานของกลุ่ม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และข้อสรุป
เนื้อหาการอบรม
วันแรกของการอบรม
- ความเสี่ยง และการอำนวยสินเชื่อของสถาบันการเงิน (ธนาคาร)
- ประภทของงบการเงิน - งบดุล งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด
- การแต่งงบการเงิน และความเสียหายในการให้สินเชื่อ
- แรงจูงในในการแต่งงบการเงินของกิจการ
- ประเภทของการแต่งงบการเงิน มีสองแบบคือ
- แต่งงบการเงิน (บีญชี) ภายใต้กติกาบัญชี
- แต่งแบบโกง ทุจริต และปรับตัวเลข ที่ผิดกฏหมาย
- สัญญาณสำคัญที่บ่งชี้แนวโน้มการแต่งบัญชีของธุรกิจ (งบการเงิน)
- รูปแบบต่างๆ ที่พบในการแต่งงบการเงิน
- Income smoothing
- Earning management
- Capitalizing policy
- การแต่งด้านการรับรู้รายได้ รายจ่าย
- การแต่งด้านทรัพย์สิน และหนี้สิน
- Others
- กรณีศึกษาท้ายบทเรียน
- กระบวนการในการตรวจสอบจับเท็จการแต่งงบการเงิน
- การวางแผนการตรวจสอบ
- ความเข้าใจอุตสาหกรรม
- การอ่านแนวโน้มผลการดำเนินงาน
- การวิเคราะห์ด้วย 5Cs Framework/3 Cs
- แจงจูงใจของผู้บริหาร
- ความเห็นผู้ตรวจสอบบัญชี และรายการ Footnote
- ความเห็นผู้บริหาร การวิเคราะห์การดำเนินงาน
- เทคนิคที่ควรทราบในการจับเท็จการแต่งบัญชี
- Cash flow analysis
- Financial ratio analysis
- Management integrity
- การเปรียบเทียบกับสภาวะของอุตสาหกรรม
- ธุรกิจที่มีการบันทึกบัญชีเฉพาะ - รับเหมา
- ข้อแนะนำในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจับเท็จ
- Governance
- Forensic accounting
- Others
- ปัจจัยความสำเร็จในการจับเท็จการแต่งงบการเงิน (บัญชี) ของธุรกิจ
- กรณีศึกษาท้ายบทเรียน
วันที่สองของการอบรม
- บทบาทของ Forensic accounting & audit
- ความหมายและคำจำกัดความ – การบัญชี และการตรวจสอบนิติวิทยา
- ความแตกต่างระหว่าง Internal audit และ Forensic audit
- องค์ประกอบสำคัญที่นำไปสู่ Fraud – 3Cs
- Conditions
- Culture
- Choices
- ประเภทของ Forensic audit มีสองประเภทคือ
- Financial statement audit
- Financial due diligent audit
- Forensic audit procedures (กระบวนการและขั้นตอน)
- Planning - วางแผนการตรวจสอบ
- Collect evidence - เอกสารสำคัญ และข้อมูล
- การเก็บข้อมูล เอกสาร หลักฐาน
- การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อหาข้อมุล
- การวิเคราะห์ เพื่อค้นหาสาเหตุ และหาข้อสรุป
- Reporting - การเขียนรายงาน
- การตรวจสอบสินเชื่อและแนวทางการตรวจสอบ
- Case study & discussion
- การป้องกัน และการแก้ไขปัญหา
- Corporate governance
- Board of directors
- Audit committee
- Management responsibility
- Internal audit
- External audit
- Roles of governing bodies (Regulators)
- สำนักงาน กลต.
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการทำ Forensic audit
- ทักษะสำคัญสำหรับผู้บริหารและพนักงานที่รับผิดชอบ
- แบบฝึกหัด และหรือคำถามท้ายบท
- กรณีศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
*ผู้เข้ารับการอบรมสามารถมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของการแต่งบัญชีงบการเงิน และการจับเท็จ และเทคนิคต่างๆในการทำการตรวจสอบ Forensic accounting & forensic audit เพื่อนำเอาสิ่งที่ค้นพบ มาปรับปรุงนโยบาย และแนวปฏิบัติด้านการให้สินเชื่อ ให้มีมาตรฐานและรัดกุมมากขึ้น
*ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ในห้องอบรม นำกลับไปพัฒนากระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้คุณภาพสินเชื่อของธนาคารสูงขึ้นในที่สุด
**เนื้อหาบรรยายอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม**
วันที่-เวลา : 25 มีนาคม 2568 ถึง 26 มีนาคม 2568
09.00 - 16.00 น.
สถานที่ : ณ โรงแรมปทุมวัน ปริ๊นเซส ถนนพญาไท
กรุณากรอกข้อมูลที่มีเครื่องหมาย * ทั้งหมด